< Previousล ลองคิดภาพตัวคุณยืน อยู่บนยอดตึก Empire State เบื้องหน้าคือ ฉากของนิวยอร์กทั้ง เมืองที่สะท้องกับแสงสุดท้ายของวัน ก่อนที่ไฟตามถนนและอาคารจะ ค่อยๆ คืบคลานเข้ามาแทนที่ใน ยามค�่าคืน “แสงมีคุณสมบัติอันน่า อัศจรรย์ เหมือนกับว่ามันมีพลัง ดึงดูดบางอย่าง” Hartmut Sinkwitz ผู้อ�านวยการทีมออกแบบภายในของ เมอร์เซเดส-เบนซ์กล่าว “โดยเฉพาะ เวลากลางคืน แสงสามารถปลุกเร้า อารมณ์ของเราได้ ท�าให้เรารู้สึกได้ ในแบบที่ไม่คิดมาก่อน” และค�า กล่าวนี้เป็นจริง ไม่ว่าคุณจะอยู่บน ยอดตึก Empire State หรือใน รถยนต์ A-Class โฉมใหม่ก็ตาม Sinkwitz และทีม จินตนาการถึง ภาพและอารมณ์ของแสงเหล่านั้น เวลาที่พวกเขาออกแบบแสงให้กับ รถยนต์ “เราต้องการที่จะสร้างโลก ที่มีสีสันและชีวิตชีวาในรถยนต์ แสง นี่แหละ ที่ช่วยให้เราทั้งอารมณ์ดีได้ และให้ความรู้สึกปลอดภัยได้ไป พร้อมกัน ไฟหน้าของรถที่สวนมา อาจท�าร้ายสายตาของผู้ขับขี่ได้ แต่ มันก็ช่วยบรรเทาลงได้เหมือนกัน หากภายในห้องโดยสารไม่มืดจน เกินไป” แสงเป็นเรื่องของฟิสิกส์ และในแง่ ของประสาทสัมผัสมนุษย์แล้ว มันเป็น ตัวกระตุ้นที่ทรงพลังที่สุด เราต้องการ มันในการด�ารงชีวิต ถ้าไม่มีแสง ก็ไม่มีชีวิต ยิ่งไปกว่านั้น แสงยังเป็น ตัวช่วยในการสังเคราะห์วิตามิน ในร่างกาย รวมไปถึง ‘เซโรโทนิน’ ซึ่งเป็นฮอร์โมนแห่งความสุขด้วย ในบางพื้นที่ แสงเป็นสิ่งหายากพอๆ กับน�้าในทะเลทราย เมื่อพระอาทิตย์ โผล่พ้นขอบฟ้าหลังหน้าหนาวอันมืด และยาวนานในสแกนดิเนเวียนั้น ความอบอุ่นที่เฝ้ารอมาแสนนานและ พลังงานบางอย่างก็ท�าให้ชาวยุโรป ตอนใต้ด�าเนินชีวิตต่อไปได้ แต่เช่นเดียวกับทุกอย่าง แสงที่มาก ไปก็ไม่ดี ไม่ว่าจะเป็นแสงอาทิตย์ จากธรรมชาติที่ท�าให้ผิวหนังไหม้ หรือก่อมะเร็ง หรือแสงจากหน้าจอ โทรศัพท์หรือคอมพิวเตอร์ ที่ส่งผลก ระทบต่อร่างกายไม่ว่าจะเป็นเรื่อง สายตาหรืออาการนอนไม่หลับ ดวงตาของเรานั้นอ่อนไหวมากกับ แสงสีฟ้าที่มากระตุ้น ไม่ว่าจะเป็น แสงสีฟ้าที่อยู่ในแสงธรรมชาติ หรือ จากวัตถุในโลกดิจิทัลก็ตาม แสงสี ฟ้านั้นจะไปลดปริมาณเมลาโทนิน ซึ่งเป็นปัจจัยส�าคัญในการนอนปกติ ของคนเรา นั่นท�าให้เรานอนหลับไม่ สนิทหรือตื่นมาแล้วรู้สึกว่าพักผ่อน ไม่เต็มที่หากก่อนนอนเราใช้มือถือ เช็คอีเมลหรืออินสตาแกรม ซึ่งจริงๆ หลายบริษัทก็พยายามพัฒนาวิธี รับมือกับแสงสีฟ้าและอาการผิด ปกติทางการนอนนี้ อย่างสมาร์ท โฟนรุ่นใหม่ๆ ก็จะมีโหมดกลางคืน ที่จะช่วยลดแสงสีฟ้าลงจากหน้าจอ ซึ่งคุณก็ควรที่จะใช้มัน เพราะเราทุก คนต่างก็ต้องพยายามหาวิธีอยู่ร่วม กับแสงในโลกดิจิทัลอย่างทุกวันนี้ Artificial interior daylight จริงๆ แล้วมันก็มีวิธีใช้แสงสีฟ้าให้ เกิดประโยชน์อยู่บ้าง และทีมวิจัยจาก Daimler ก็พยายามพัฒนาเรื่องนี้อยู่ พวกเขาได้ลองคิดค้นระบบแสงที่ติด ด้านในของหลังคารถบรรทุกที่เรียก ว่า ‘Daylight+’ ซึ่งท�าหน้าที่ให้แสง ที่เหมือนกับแสงธรรมชาติในเวลา กลางวัน แต่สว่างและให้ความรู้สึก ผ่อนคลายมากกว่า เพื่อที่ว่าจะช่วย เพิ่มประสิทธิภาพและสมาธิให้กับคน ขับรถ ซึ่งช่วยให้ท้องถนนมีความ ปลอดภัยมากขึ้นนั่นเอง และด้วยเทคโนโลยีทุกวันนี้ ก็มีวิธี มากมายในการสร้างแสงแบบที่ ต้องการ Harald Widlroither ผู้อ�านวยการด้านการพัฒนาปัจจัย มนุษย์ (Human Factors Engineering) แห่ง Fraunhofer Institute ในเยอรมนี ซึ่งร่วมมือกับเมอร์เซเดส-เบนซ์บอก ว่า “เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นแรงขับ เคลื่อนที่ส�าคัญ มันช่วยให้เรา ควบคุมและจัดการแสงได้ง่ายขึ้น นั่นหมายความว่าเราสามารถเปลี่ยน ความคิดให้เป็นความจริงได้มาก ขึ้น” ถึงอย่างนั้น เราก็ยังไม่สามารถ วัดผลกระทบของแสงที่มีต่อผู้คนได้ อย่างเป็นรูปธรรมอยู่ดี Subjective effects แสงสีฟ้ามีแนวโน้มที่จะสร้างแรง กระตุ้น ขณะที่แสงสีแดงมักจะให้ ความสงบ แต่นั่นก็ไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้น กับทุกคน Isabel Sch ö llhorn จาก Fraunhofer Institute ผู้ดูแลแผนก Ergonomics & Vehicle Interaction บอกว่า “ข้อสังเกตทาง จิตวิทยาก็อาจจะตรงกันข้ามกับ อารมณ์ที่เกิดขึ้นจริงได้” งานที่เธอ ท�าคือการค้นหาวิธีจัดแสงให้ลด ความเครียด ซึ่งนั่นก็เป็นเรื่องยาก มากเมื่อต่างคนต่างก็มีความชอบ และอารมณ์ที่แตกต่างกันไป แต่เธอ ก็บอกว่า “แต่อย่างหนึ่งที่แน่นอนก็ คือ คุณสมบัติของแสงที่ไม่ได้เกิด จากธรรมชาติและบรรยากาศที่มัน สร้างขึ้นนั้นมีความสัมพันธ์กัน ถ้า ฉันเห็นเก้าอี้ที่ฉันชอบ กว่าฉันจะ รู้สึกว่ามันนั่งไม่สบาย เวลาก็ผ่านไป นานแล้ว” ยังมีบางมิติของแสงที่ยากจะตรวจ สอบด้วยวิทยาศาตร์ นั่นก็คือเรื่อง ของอารมณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่งก็เป็นแรง จูงใจส�าคัญในการท�างานของ Hartmut Sinkwitz และทีมของเขา พวกเขามีต้นแบบเป็นศิลปินอย่าง ที่James Turrell ที่ใช้แสงในการ Hartmut Sinkwitz, ผู้อ�านวยการทีมออกแบบ ภายในของเมอร์เซเดส-เบนซ์ มักได้รับแรงบันดาลใจจาก แสงไฟในเมืองใหญ่ Digital Light เทคโนโลยีด้านแสงใหม่ จาก Daimler AG ที่ ช่วยให้แสงที่สองไปไม่จ้า แยงตาคน รวมถึงมีการ แจ้งเตือนเมื่อมีคนเดิน ถนน และก�าหนดช่อง ทางขับขี่ให้เมื่ออยู่ใน ถนนแคบๆ เทคโนโลยีนี้ จะถูกบรรจุครั้งแรกใน new Mercedes- Maybach S-Class mbmag.me/ digitallight 30Mercedes-BenzMercedesแสงอาทิตย์ ช่วยให้เรามีชีวิตชีวา ... และแสงจากขอบฟ้าของ แมนฮัตตันก็เป็นสัญลักษณ์ ของค�าสัญญาบางอย่าง 31September 2018Mercedesนักถ่ายภาพและนักวาดภาพ มักใช้แสงและเงาเป็นเครื่องมือ ในการเล่าเรื่อง 32 Mercedes-BenzMercedesสร้างพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเปลี่ยนใจของ คนที่อยู่ในนั้นได้ หรือสถาปนิกอย่าง Norman Foster ที่ใช้แสงเป็น แรงบันดาลใจในการท�างานและ สร้างสถาปัตยกรรมที่มีแรงขับดัน ด้านอารมณ์ได้ No shadows without light Hartmut Sinkwitz เห็นด้วยว่า “งานศิลปะที่สมบูรณ์แบบนั้นเกิด จากการปฏิสัมพันธ์กันระหว่างแสง และเงา ศิลปินวาดภาพหลายคนก็ ใช้เทคนิคนี้ในการสร้างงานชิ้นเอก ขึ้นมา” แสงและเงานี่เอง ก็เป็น หนึ่งในปัจจัยส�าคัญในการ ออกแบบภายในของ A-Class โฉม ใหม่มาตั้งแต่ต้น “เมื่อแสงและเงา ปฏิสัมพันธ์กัน มันสามารถสร้าง บรรยากาศอันน่าอัศจรรย์ใน รถยนต์ให้เกิดขึ้นได้แบบที่ไม่เคยมี มาก่อน ทรวดทรงต่างๆ และแสง ประกอบกันได้อย่างลงตัว และช่วย สนับสนุนซึ่งกันและกัน” และความ ลงตัวของแสงและเงานี่เองที่ท�าให้ ภายในห้องโดยสารสมบูรณ์แบบขึ้น มาได้ Sinkwitz เล่าถึงครั้งแรกที่เขา ตระหนักในพลังของแสงว่า “เมื่อ ตอนที่ผมยังเด็ก พ่อแม่พาผมออก ไปเดินเล่นยามค�่าคืนในเวนิส มัน เป็นหนึ่งในความทรงจ�าที่ดีที่สุดของ ผม ผมเห็นเงาของอาคารบ้านเรือน ริมคลองซึ่งประดับประดาด้วยไฟ สะท้อนกับผืนน�้าระยิบระยับ มัน ท�าให้ผมรู้สึกอบอุ่นและมีชีวิตชีวา เมื่ออยู่ตรงนั้น” และด้วยความ ประทับใจนี้ เขาก็พาลูกๆ ของเขา ไปพบเห็นในสิ่งเดียวกัน นอกจากนี้ เขาก็ยังส่งภาพถ่ายที่บอกว่าเป็นแรง บันดาลใจมากๆ มาให้ลงนิตยสาร นั่นก็คือภาพชายหาดของเกาะ Usedom ในยามพระอาทิตย์ตก ไม่ ว่าจะเป็นใครก็ตาม แสงสุดท้ายของ วันมักท�าให้เราผ่อนคลาย รวมถึงมี ความสุขเสมอ Ambient lighting แสงบรรยากาศใน new A-Class มีสีที่แตกต่างกัน ถึง 64 สี ซึ่งสามารถรวม หรือแยกกันเพื่อสร้าง บรรยากาศจากแสงสีได้ถึง 10 รูปแบบ Hartmut Sinkwitz และทีมออกแบบ เอาใส่ใจเรื่องปฏิสัมพันธ์ ระหว่างแสงและเงาในห้อง โดยสารนี้เป็นอย่างมาก mbmag.me/ ambiente Fraunhofer Institute พัฒนา VirtualSky ขึ้นเพื่อ เลียนแบบแสงธรรมชาติใน เวลากลางวัน Magical moment : ยามเย็น อันน่าประทับใจที่ Usedom island ภาพถ่ายจาก Hartmut Sinkwitz ผู้อ�านวย การทีมออกแบบภายในของ เมอร์เซเดส-เบนซ์ Spatial sculptures : แสง บรรยากาศใน new A-Class จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อดีไซน์เนอร์ฝีมือดีที่สุดของเมอร์เซเดส-เบนซ์ ปลดปล่อยจินตนาการของพวกเขาออกมา Gorden Wagener ประธานฝ่ายออกแบบของ Daimler AG ท�างานกับ เมอร์เซเดส-เบนซ์มาตั้งแต่ ปี 1997 และรับหน้าที่เป็น ผู้ดูแลการออกแบบแบรนด์ มาตั้งแต่ปี 2008 Ideas for tomorrow Mercedes-Maybach spaceship (March) – Steffen Schulz, นักศึกษาฝึกงานแผนกออกแบบ Beyond the car Mercedes-Benz Mars rover (April) – Mehdi Kerkouche, นักศึกษาฝึกงานแผนกออกแบบการขนส่ง PHOTOS DAIMLER AG Gorden Wagener เริ่มต้นการประกวดในเวทีใหม่และเปิดให้ทุกคนเข้าร่วมแล้ว ครั้งนี้เป็นผลงานด้านการสเก็ตช์ ไม่ว่าจะเป็นแฟชั่น รถยนต์ หรือสิ่งก่อนสร้าง แค่โพสต์ลงอินสตาแกรม พร้อมติดแฮชแท็ก #mbsketchofthemonth เตรียมดูผลงานของผู้ชนะได้ใน Mercedes me เล่มหน้า อีกหนึ่งเวที ประลองความสามารถ #mbglobalsketch สตูดิโองานออกแบบของ เมอร์เซเดส-เบนซ์ทั่วโลกบรรจุ ดีไซน์เนอร์ฝีมือเยี่ยมไว้มากมาย ประธานฝ่ายออกแบบ Gorden Wagener จึงท้าให้บรรดาดีไซน์ เนอร์ส่งไอเดียสำาหรับอนาคตเข้า ประกวด โดยการโพสต์ไอเดีย เหล่านั้นลงอินสตาแกรมทุกๆ เดือน และนี่คือผลงานของผู้ชนะ ประจำาเดือนมีนาคมและเมษายน 2018 Gallery of prizewinners: #mbsketchofthemonth 34Mercedes-BenzMercedesBirth of ทุกอย่างเริ่มต้นด้วยความฝันที่จะนำาเทคโนโลยี Formula 1 มาสู่ท้องถนน และความฝันนี้กำาลังจะกลายเป็นจริงแล้ว Tobias Moers หัวหน้า Mercedes-AMG กำาลังจะแนะนำา Mercedes-AMG Project One ให้โลกรู้จัก เรื่อง: HENDRIK LAKEBERG ภาพ: BENJAMIN PICHELMANN a legend One promise: the Mercedes-AMG Project One 38Mercedes-BenzMercedesNext >