< Previous/ ISSUE_12 30 YOUR HEALTHY BODY Dos VS Don’ts Do consume ginger as it suppresses prostaglandins – a cause of menstrual cramp – and also promotes blood circulation. ขิงมีสารที่ช่วยยับยั้งสาเหตุหนึ่งของการปวดประจ�าเดือน ซึ่งก็คือ โพรสตาแกลนดิน และยังช่วยเสริมการไหลเวียน ของเลือดอีกด้วย จึงควรบริโภคขิงหรือน�้าขิงในช่วงนี้ DURING THEIR MENSES, MOST WOMEN ARE AFFECTED AND UPSET BY CRAMPING PAINS IN THEIR LOWER ABDOMEN AS WELL AS A GENERAL FEELING OF DISCOMFORT. FORTUNATELY, THERE ARE NATURAL AND EASY WAYS TO HELP PREVENT AND RELIEVE THOSE MONTHLY PAINS. Dos Don’t eat ‘yin’ or ‘cold’ foods like cucumber, apple and watermelon, and minimize the amount of raw vegetables. These take more energy to digest and block energy flow. หลีกเลี่ยงอาหารที่มีฤทธิ์เย็น เช่น แตงกวา แอปเปิ้ล แตงโม และอาหารยังไม่ปรุงสุกทั้งหลาย เพราะร่างกาย ต้องใช้พลังงานย่อยมากกว่า Don’t drink tea, coffee or cola as caffeine can worsen menstrual cramps and make your body more easily dehydrated. ควรเลี่ยงเครื่องดื่มที่มี คาเฟอีนอย่างชา กาแฟ และโคล่า เพราะคาเฟอีน ท�าให้อาการปวดท้องนั้น มากขึ้น และท�าให้ร่างกาย สูญเสียน�้าได้ง่ายขึ้น Don’ts Don’ts/ ISSUE_12 31 Dos Do take a shower more often to reduce menstrual cramps and backache, and help boost your mood. ลองอาบน�้าให้บ่อยขึ้นเพื่อลดอาการ ปวดท้องน้อยและปวดหลัง อีกทั้งยังท�าให้ อารมณ์ดีขึ้นได้ด้วย Do eat liver and green vegetables that will sustain your iron levels such as spinach, kale and broccoli. Avoid eating them raw, however! ตับและผักสีเขียว เช่น ผักโขม ผักเคล และ บร็อคโคลี่ ช่วยรักษาระดับธาตุเหล็กในร่างกาย ได้อย่างดี แต่ควรเลี่ยงการรับประทานแบบดิบ Don’t ingest cold drinks as they constrict blood flow and will cause more painful menses. ไม่ควรดื่มเครื่องดื่มเย็นเนื่องจากความเย็น จะส่งผลเสียต่อการไหลเวียนของเลือด ท�าให้อาการปวดเพิ่มมากขึ้น Do drink plenty of water, since staying hydrated will reduce menstrual pain and enhance blood flow. การดื่มน�้ามากๆ ช่วยลดอาการปวดท้อง ประจ�าเดือนและช่วยการไหลเวียนของ เลือดได้ Dos Dos Don’tsAdvertorialIn 2014, a total of 58,681 Thai people, or an average of 7 people per hour died from cardiovascular diseases. There are many risk factors that associated with such diseases; one key factor is poor diet which can be resulted from eating too much unhealthy fat or trans-fat. What is trans-fat? How is it different from other types of fat and how can we avoid consuming such food? But first, let's get to know the different types of fat available in the market. Consuming saturated fat can results in increased levels of cholesterol in the blood. Saturated fat found in meat such as beef, pork, and chicken skin, butter, creams, cheese and other dairy products. In addition, it can be found in vegetable product for instance in coconut, coconut oil, palm oil and cocoa butter. The American Heart Association recommends limiting saturate fat intake no more than 5-6% of the total caloric intake consumed per day for patients has high blood cholesterol or suffered from “Dyslipidemia”, THE DANGERS OF TRANS FAT YOUR HEALTHY BODY Longevity Consuming unsaturated fat or “good fat” can prevent you from heart disease and coronary artery disease. Unsaturated fats are divided into two types, monounsaturated fats and polyunsaturated fats. Polyunsaturated fats are found in fish such as Salmon, Trout, Herring, Avocado, Olive, Walnut, as well as different type vegetable oils such as Soy bean oil, Safflower seed oil, Canola oil, Olive oil and Sunflower seed oil. Trans-fat or trans-unsaturated fatty acid (TFA) is a type of fat found in many processed or packaged food we may consume daily. There are two main sources of dietary trans-fat: naturally occurring trans- fat and artificial trans- fat. Artificial trans-fat is the one that we should be concerned as it elevated LDL cholesterol and increase the risk of developing cardiovascular diseases. Where do we find artificial trans-fat? Artificial trans-fat is often used in food manufacturers as It enhances food's shelf life. Food that contains artificial fats includes fried food such as Fried chicken, French fries, hamburgers, packaged snacks. It is recommended to avoid the food that contains the ingredients of shortening, margarine such as cookie, pies, puffs or snack bars. Trans- fat is formed when liquid vegetable oil is converted to solid fat by a process called hydrogenation. This process involves adding hydrogen at double bond of the unsaturated fatty / ISSUE_12 35 acid, which in turn making the oil more saturated. The primary source of Trans- fat in processed food is partially hydrogenated. Partially hydrogenated oil -Trans-fat is commonly used in the food industrial as it provides heat stability, longer shelf life without becoming rancid. Moreover, the taste is similar to animal fat but inexpensive. Food manufacturers often choose trans-fat to cook the meal as it can significantly reduce the cost especially in fast food manufacturers. Research suggested that there is an associated link between Trans- fatty acids and enzyme "Cholesterol acyltranferase” This enzyme plays a key role in cholesterol metabolism. As a result when consuming a high dietary trans- fatty acid, it could increased LDL cholesterol levels (bad fats) decreased HDL cholesterol level (good fats) which eventually can leads to cardiovascular diseases. In 2013, the US Food and Drug Administration has issued a preliminary announcement stating trans-fats are no longer recognized as a safe dietary and everyone should try to avoid as it increases the risk of cardiovascular diseases. In addition to that, Manufacturers are required to specify the amount of Trans- fat on the product label. In June 2015, FDA has taken a serious action in removing trans-fat in processed food. The manufactures have three years to re formulate the process of making their food product. Denmark is the first country that introduce this policy and initiate the restricting the content of artificial trans-fat to 2 percent of the food supply. Manufacturers have cooperated with the policy with no hurdle, resulting in a 70 percent decreased in mortality rate from cardiovascular disease. Reflecting back to our country, in Thailand, there is no regulation to control the use of trans- fat or food labeling as yet, however, now that we know what trans-fat can do to our health, we should avoid eating trans-fat food such as bakery (cake, croissant, cookies, donuts, muffins, puffs and pies). It is recommended not to use margarine and change the frying and cooking oils every time you cook. Stay healthy, stay away from artificial trans-fat. ไขมันทรานส์ ศัตรูร้ายที่ใกล้ตัว ในปี 2557 คนไทยเสียชีวิตจากโรคหัวใจ และหลอดเลือด (Cardiovascular diseases) รวม 58,681 คน หรือเฉลี่ย ชั่วโมงละ7 คน เป็นสถิติที่น่าตกทีเดียว และหนึ่งในปัจจัยเสี่ยง ที่ส�าคัญคือระดับไขมันคอเลสเตอรอลชนิด LDL หรือไขมันชนิดเลวที่มาจากอาหารที่เรา รับประทานเป็นประจ�า โดยเฉพาะอาหารที่มี ไขมันทรานส์ หรือ Trans fat Trans fat คืออะไร แตกต่างจากไขมันชนิด อื่นๆ อย่างไร และมีวิธีหลีกเลี่ยงอย่างไรบ้าง เรามาหาค�าตอบกันค่ะ แต่ก่อนอื่นเรามา ท�าความรู้จักกับไขมันชนิดต่างๆ ที่มีอยู่ในตลาด ตอนนี้กันก่อนนะคะ • ไขมันอิ่มตัว (Saturated fat) ไขมันอิ่มตัวเป็นไขมันที่ส่งผลให้ระดับไขมัน คอเลสเตอรอลในเลือดเพิ่มขึ้น พบได้ในเนื้อสัตว์ เช่น เนื้อวัว (Beef) เนื้อหมู (Pork) เนื้อไก่ติดมัน (Chicken with skin) เนย (Butter) ครีม (Creams) ชีส (Cheese) และผลิตภัณฑ์จากนม อื่นๆ (Dairy products) ส่วนในพืช จะพบไขมัน อิ่มตัวได้ใน มะพร้าว (Coconut) น�้ามันมะพร้าว (Coconut oil) น�้ามันปาล์ม (Palm oil) และ เนยโกโก้ (cocoa butter) เป็นต้น ในผู้ป่วยโรคไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia) ทางสมาคมโรคหัวใจแห่งสหรัฐอเมริกา (American Heart Association) แนะน�าให้ จ�ากัด การบริโภค ไขมันอิ่มตัวไม่เกิน 5-6% ของปริมาณแคลอรี่ทั้งหมดที่บริโภคต่อวัน • ไขมันไม่อิ่มตัว (Unsaturated fat) ไขมันไม่อิ่มตัว เป็นไขมันชนิดดีที่มีคุณสมบัติ ในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดตีบตัน (Coronary artery diseases) ถูกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยว (Monounsaturated fats) และ ไขมันไม่อิ่มตัว เชิงซ้อน (Polyunsaturated fats) พบได้ในปลา เช่น ปลาแซลมอน (Salmon) ปลาเทร้าท์ (Trout) ปลาเฮอร์ริ่ง (Herring) อะโวคาโด (Avocado) ลูกมะกอก (Olive) ถั่ววอลนัท (Walnut) น�้ามันพืช เช่น น�้ามันถั่งเหลือง (Soy bean oil) น�้ามันเมล็ดค�าฝอย (Safflower oil) น�้ามันคาโนล่า (Canola oil) น�้ามันมะกอก (Olive oil) และ น�้ามันเมล็ดดอกทานตะวัน (Sunflower seed oil) / ISSUE_12 36 YOUR HEALTHY BODY Longevity • FDA cuts Trans Fat in Processed Food. Retrieved from www.fda.gov/ForConsumers/ ConsumerUpdates/ucm372915.htm (16/06/2015) • The Skinny on Fats: Saturated, Unsaturated and Trans fat. Retrieved from www.heart.org/ HEARTORG/Conditions/Cholesterol/PreventionTreatmentofHighCholesterol/The-Skinny-on-Fats_ UCM_305628_Article.jsp#.WVIjkxOGP-Y (10/04/2017) • ศ.ดร.ภญ.นุศราพร เกษสมบูรณ์. เลี่ยงไขมันทรานส์ในอาหาร. แหล่งที่มา เว็บไซต์ ส�านักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) www.thaihealth.or.th (25/07/2017) • นันทยา จงใจเทศ, ภัทธิรา ยิ่งเลิศรัตนะกุล, ปิยนันท์ เผ่าม่วง, วารีทิพย์ พึ่งพันธ์. รายงานการศึกษาวิจัยปี 2550 เรื่อง ปริมาณไขมันทรานส์ในอาหารอบและทอด กลุ่มวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการ กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล: ศูนย์เวชศาสตร์ชะลอวัย Royal Life Anti-Aging Center โรงพยาบาลกรุงเทพ และสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO) และศูนย์วิจัยสุขภาพกรุงเทพ โรงพยาบาลกรุงเทพ • ไขมันทรานส์ (Trans-unsaturated fats) ไขมันทรานส์เป็นกรดไขมันอีกชนิดที่พบได้ ในอาหารที่เรารับประทานเป็นประจ�า ถูกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ไขมันทรานส์ ธรรมชาติ (natural trans fat) และ ไขมัน ทรานส์สังเคราะห์ (artificial transfat) ส่วนใหญ่เราจะได้รับไขมันทรานส์ จากการ สังเคราะห์ ในกระบวนการผลิตอาหาร เพื่อยืดอายุอาหาร อาทิ ของทอด เช่น ไก่ทอด (Fried chicken) มันฝรั่งทอด (French fries) แฮมเบอร์เกอร์ (Hamburgers) หรือขนม อบกรอบ (Packaged snacks) นอกจากนี้ ยังรวมถึงอาหารที่มีส่วนประกอบของเนยขาว (Shortening) และมาร์การีน (Margarine) เช่น คุ้กกี้ (Cookies) พาย (Pies) พัฟ (Puffs) หรือขนมขบเคี้ยว ชนิดแท่งด้วย (Snack bars) ของเอนไซม์ Cholesterol acyltranferase ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่มีบทบาทส�าคัญในการเผา ผลาญไขมันคอเลสเตอรอล ส่งผลให้ระดับไขมัน LDL ในเลือดเพิ่มขึ้น และไขมัน HDL ซึ่งเป็น คอเลสเตอรอลชนิดดีลดลง เพิ่มความเสี่ยง ในการเกิดโรคหัวใจ ในปี 2556 องค์การอาหารและยาของ สหรัฐอเมริกา (US Food and Drug Administration) ได้ออกประกาศเตือนว่า ไขมันทรานส์เป็นไขมันที่ไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพ และมีการก�าหนดให้ผู้ผลิตอาหารระบุปริมาณ ไขมันทรานส์บนฉลากผลิตภัณฑ์ ล่าสุดเมื่อเดือนมิถุนายน 2558 ที่ผ่านมา มีการประกาศว่า ไม่ให้ใช้ไขมันทรานส์ในการ ผลิตอาหารโดยเด็ดขาด โดยให้เวลาผู้ผลิต อาหาร 3 ปี ในการปรับกระบวนการผลิต ประเทศที่ใช้มาตรการทางกฎหมายอย่าง เข้มงวด คือ เดนมาร์ก ที่ออกกฎหมาย บังคับ ผู้ผลิตอาหารไม่ให้มีไขมันทรานส์ในอาหารเกิน 2% พบว่า ผู้ผลิตอาหารให้ความร่วมมือ อย่างดีมาก ส่งผลให้ อัตราเสียชีวิต จากโรคหัวใจและหลอดเลือดลดลง ถึง 70% ส�าหรับคนไทยถึงแม้ว่า เรายังไม่มีมาตรการ ทางกฎหมาย มาควบคุมการใช้หรือบังคับให้ระบุ ปริมาณไขมันทรานส์บนฉลากอาหาร เราสามารถเริ่มดูแลตัวเอง โดยการหลีกเลี่ยง การรับประทานอาหารที่มีไขมันทรานส์ เป็นส่วนประกอบ เช่น กลุ่มเบเกอรี่ (เค้ก ครัวซอง คุ้กกี้ โดนัท มัฟฟิน พาย พัฟไส้ต่างๆ) ที่มักจะมีส่วนประกอบของเนยมาการีน และ ของทอดที่ใช้น�้ามันทอดซ�้าๆ จนหนืด เช่น มันฝรั่งทอด ไก่ทอด นักเก็ต ใส่ใจกับการเลือกรับประทานกันดีกว่า เพื่อสุขภาพของเราเอง และคนที่เรารัก อย่าลืมประโยคส�าคัญที่ว่า You are what you eat กันนะคะ ไขมันชนิดนี้เกิดจาก แปรรูปกรดไขมันไม่อิ่มตัว (unsaturated fats) ให้กลายเป็นกรดไขมันอิ่มตัว (saturated fats) โดยการเติมไฮโดรเจน (hydrogenation) บนฉลากอาหาร อีกชื่อหนึ่ง ของไขมันสังเคราะห์ชนิดนี้คือ partially hydrogenated oil สาเหตุที่มีการน�าไขมันไปเปลี่ยนเป็น ไขมันทรานส์ เนื่องจากไขมันทรานส์ ทนความร้อน ได้สูง (Heat stable) สามารถเก็บไว้ได้นาน โดยไม่เหม็นหืน และมีรสชาติคล้ายคลึงไขมัน จากสัตว์ แต่จะมีราคาที่ถูกกว่า ผู้ผลิตอาหาร ต่างๆ (Food manufacturers) จึงนิยมน�า ไขมันทรานส์มาใช้ประกอบอาหาร เพื่อช่วยลด ต้นทุนการผลิตลง โดยเฉพาะ กลุ่มอาหารฟาสต์ฟูด จากงานวิจัยพบว่า การรับประทานอาหาร ที่มีกรดไขมันทรานส์มากๆ จะมีผลต่อการท�างาน/ ISSUE_12 37YOUR HEALTHY BODY 5-min exercise Sitting in an airplane on a long haul flight is undoubtedly an uncomfortable ordeal. For frequent flyers, it can also cause deep-vein thrombosis and persistent back pain. When you next find yourself on one of those long haul flights, try these exercises which can be performed in your seat. Illustrated by Fah Anuntasomboon EXERCISE HIGH IN THE SKY 2. STRETCH YOUR BACK With both knees pressed together, bend your body down gradually until your hands reach your ankles. Stay in this position for 15-20 seconds, then lift your body up slowly. 5. ROLL YOUR SHOULDERS Lift both shoulders up and down for 15 seconds. Then, roll your shoulders backward for 15 seconds and follow by rolling them forward for 15 seconds. 4. MOVE YOUR ANKLES Clasp your hands under your left thigh and slowly lift that leg up towards your chest. Rotate your left ankle in a circular motion for 5 seconds, then lower it to the floor. Do the same with your right ankle. Repeat 5 times for each side. 3. ARMS AND SHOULDERS Raise both arms up, and bend your left arm to touch your back shoulder. Use the right hand to pull on the left elbow until you feel a slight stretch and stay there for 15 seconds. Repeat with your right arm. 1. LEGS AND BACK Lean your upper body forward just a little, join both hands together and embrace your left knee. Pull the knee up to your chest for 3 seconds and then release it slowly. Switch to the other side. Repeat 5 times for each leg. / ISSUE_12 38/ ISSUE_12 39 WHY CLEAN EATING DOES NOT GET YOU TO BE IN SHAPE? The term ‘Clean Eating’ has been thrown around in the diet world. Clean eating is consuming food that minimally processed, refined, and handled. However, there are misguided perceptions about “Clean Eating”. 1. You have an unbalanced diet – Clean food might tempt some people to eat more than what they actually need as it is always known as low-calories and low-sodium food. Eating an unbalanced diet could result in an excess fat stored in the body. 2. You think eating less makes you skinny – Many people desire to lose substantial amount of weight in a short period, and choose to consume less than what the body needs. This will certainly result in weight loss; however, in the long run, it simply does not work. When you keep your body in a calorie deficit over time, total muscle mass decreases. Depriving your body with less calories intake and losing muscle mass slows down your metabolism and might cause you to gain back the weight you lose, or even gain more than before. This is known as “Yo-Yo Dieting”. 3. You choose wrong food choices – For example, eating salad with creamy dressing, which is high in fat and calories, or eating fruits that are high in sugar such as banana, mango, and grapes. Alternative choices would be choosing light dressing or fruits with low sugar like rose apple, blackberries, and raspberries. 4. You’re still addicted to unhealthy food – You won’t get to where you want to be if you are eating clean but you are still addicted to soft drink, alcohol, unhealthy snacks, and junk food. Therefore, you should change your eating habit to see a better result. 5. You’re not exercising – Cleaning eating alone probably won’t give you the result you want. The best way to lost weight consists of 2 main parts, eating right and exercising. Weight loss success comes down to 70/30 rule, which means 70% the food you eat and 30% exercise. Therefore, even though you are eating nutritious foods, it is important to get moving as exercise helps you achieve your goal faster and makes you healthier. Beside these recommended tips from Garmin, you might consider owning an activity tracker like vivosmart 3, which encourages you to be more active with its step-counting function. Moreover, vivosmart 3 is capable of tracking how much calories burned each day, which could help you to estimate the amount you should eat according to your calories output. By understanding the right ways to adopt clean eating lifestyle along with exercising persistently, you will certainly achieve your goal and become healthier. Advertorial Garmin Sport www.garminbygis.com รับประทานอาหารคลีนตลอด ไม่เห็นผอมสักที? หลายคนคงรู้จักกับอาหารคลีน (Clean Food) กันเป็นอย่างดี อาหารคลีนได้ชื่อว่าเป็นอาหารที่ผ่าน การปรุงแต่ง แปรรูป และการขัดสีน้อยที่สุด เน้นการ รับประทานอาหารที่ครบทั้ง 5 หมู่ ถึงอย่างไรก็ตาม ยังมีหลายคนที่เข้าใจผิดเกี่ยวกับ รับประทานอาหารคลีน เช่น 1. รับประทานในปริมาณที่ไม่เหมาะสม เป็นที่ทราบกันดี ว่าอาหารคลีนมีแคลอรี่และโซเดียมต�่า ซึ่งอาจท�าให้บางคน เผลอรับประทานอาหารคลีนมากกว่าปกติ ท�าให้ร่างกายได้ รับพลังงานมากเกินความจ�าเป็น จนเกิดเป็นไขมันสะสม 2. รับประทานน้อย...ผอมแน่ หลายคนอยากลดหุ่น แบบเร่งรัด จึงใช้วิธีรับประทานอาหารน้อยกว่าปริมาณ ที่ร่างกายต้องการ ซึ่งแน่นอนว่าวิธีนี้จะท�าให้น�้าหนักลดลง อย่างแน่นอน แต่ผลลัพธ์ที่ได้คือ ร่างกายขาดพลังงาน สูญเสีย กล้ามเนื้อ ส่งผลให้ร่างกายอ่อนแอ มีโรครุมเร้า และอาจท�าให้ รู้สึกโหยและรับประทานเยอะมากกว่าเดิมได้ หรือที่เรียกกันว่า โยโย่เอฟเฟ็กต์ 3. เลือกรับประทานผิดๆ เช่น ทานสลัดผักและผลไม้ แต่เลือกรับประทานคู่กับน�้าสลัดครีมที่มีไขมันและแคลอรี่สูง หรือรับประทานผลไม้ที่มีปริมาณน�้าตาลเยอะเช่น กล้วย มะม่วง องุ่น เป็นต้น ทางเลือกที่ดีกว่าคือ เปลี่ยนมา รับประทานน�้าสลัดใส หรือผลไม้ที่มีน�้าตาลน้อยอย่าง ชมพู่ แบล็กเบอร์รี่ ราสเบอร์รี่ 4. ไม่ลดเลิกพฤติกรรมรับประทานตามใจปาก หาก รับประทานอาหารคลีน แต่ยังคงดื่มน�้าหวาน น�้าอัดลม แอลกอฮอล์ ทานขนม และอาหารขยะจนเป็นนิสัย ส่งผลให้ ไม่ได้ผลลัพธ์เท่าที่ต้องการ ดังนั้น ควรเปลี่ยนนิสัยการกินใหม่ เพื่อที่จะท�าให้การรับประทานคลีนเห็นผลเร็วขึ้น 5. ไม่ออกก�าลังกาย การรับประทานคลีนเพียงอย่างเดียว อาจท�าให้ไม่ได้ผลตามที่ต้องการ การควบคุมน�้าหนักที่ดี ควรแบ่งเป็น 2 ส่วนด้วยกัน คือ การรับประทานอาหาร 70% และการออกก�าลังกายอีก 30% ดังนั้นแม้ว่าจะรับประทานคลีน ก็ยังควรออกก�าลังกายควบคู่ไปด้วย ซึ่งการออกก�าลังกายนั้น จะช่วยท�าให้การควบคุมน�้าหนักเห็นผลไวขึ้นและมีสุขภาพ ที่แข็งแรงอีกด้วย นอกจากนี้ คุณอาจจะใช้ตัวช่วยอย่าง Activity Tracker ของ Garmin vivosmart 3 ที่ช่วยให้คุณแอคทีฟขึ้นด้วยฟังก์ชั่น นับก้าวเดิน รวมถึงมีฟังก์ชั่นบอกแคลอรี่ที่เราเผาผลาญได้ เพื่อเรา จะได้รู้ว่าในแต่ละวันเราใช้พลังงานไปเท่าไหร่ และรับประทาน อาหารในปริมาณที่เหมาะสมกับพลังงานที่ใช้ หากเข้าใจการรับประทานอาหารคลีนอย่างถูกวิธี น�าไป ปรับใช้ในชีวิตประจ�าวันอย่างสม�่าเสมอ และออกก�าลังกาย ควบคู่ คุณจะได้สุขภาพที่ดีและหุ่นที่ต้องการอย่างแน่นอน • New! vivosmart3 ราคา 5,990 บาทNext >